ชื่อแหล่ง : วัดป่าดงน้ำคำ Dong Nam Nome Temple

ขึ้นทะเบียน

21-09-2541

ประกาศในราชกิจจานุเบกษา

เล่มที่ 115 ตอนพิเศษ 83 ง.

ที่อยู่

บ้านหมกเต่า ตำบลเบิด อำเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์

ละติจูด

15°16′12″ องศาเหนือ

ลองจิจูด

103°58′12″องศาตะวันออก

ประเภท

ปราสาทอิฐ

อายุ

พุทธศตวรรษที่ 23-24

วัตถุประสงค์

พุทธสถาน

ทิศทางการวางตัว

14.6 องศาตะวันออก

ความสาคัญของแหล่ง

วัดป่าดงน้ำคำ มีซากโบราณสถาน ซึ่งคาดว่าเป็นซากเจดีย์และซากโบสถ์ สันนิษฐานว่าสร้างในสมัยพุทธศตวรรษที่ 23-24 ราวปลายกรุงศรีอยุธยา มีอายุถึง  417ปีและมีแบบอย่างศิลปะมากที่สุดในประเทศไทยลัทธิศาสนาในอาณาจักรนี้มีศาสนาพุทธและลัทธิหินยานลัทธิลังกาวงค์ ศาสนาพราหมณ์ของขอม  ศาสนาคริสเตียน  กรุงศรีอยุธยาสร้างขึ้นเมื่อปี  พ.ศ.1893อาณาจักที่มีพระเจ้าอู่ทองเชื้อวงศ์เชียงราย  ได้สร้างขึ้นใหม่  มีการติดต่อค้าขายกับต่างประเทศมากมาย  จึงได้รับอิทธิพลจำนวนมาก ด้านสถาปัตยกรรม แบ่งตามอิทธิพลคือ   อิทธิพลทวาราวดี  งานสถาปัตยกรรมเห็นไม่ชัด  แต่ปรากฏในงานสลักไม้ (2)  อิทธิพลลพบุรีได้แก่ปรางค์ที่วัดราชบูรณะ  อยุธย (3)  อิทธิพลเชียงแสน  ได้แก่สถูปทรงสี่เหลี่ยมวัดไชยวัฒนา (4)อิทธิพลลังกาได้แก่สถูปพระศรีสุริโยทัย (5)อิทธิพลตะวันตก  ได้แก่  พระที่นั่งเย็น (สร้างริมบึงพระราม)  ลพบุรี(6)อิทธิพลจีนได้แก่วัดบรมพุทธาราม(กระเบื้องเคลืบแบบลูกฟูก) (7)อิทธิพลแบบอยุธยาแท้  ได้แก่  สถูปภูเขาทองสถูปพระศรีสุริโยทัย แทบอำเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์ ส่วนใหญ่จะพบศิลปะทวาราวดี และลพบุรี อยู่ในพื้นที่ ปัจจุบันเป็นสำนักสงฆ์มีการสร้างสิ่งปลูกสร้างสมัยใหม่ขึ้นรอบบริเวณโบราณสถาน

หลักฐานทางโบราณคดี

1.เจดีย์          2.โบสถ์

ปัจจัยการเปลี่ยนแปลง

ด้านกายภาพ ไม่พบการเปลี่ยนแปลง มีเพียงภูมิทัศน์รอบๆ โบราณสถาน ที่ได้รับการดูแลจากทางวัด เนื่องจากตลอดระยะที่ผ่านมา ประชาชนเข้ามาปฏิบัติธรรมภายในวัด ทำให้เกิดการดูแลรักษาสภาพภูมิทัศน์ ด้านข้อมูล ยังไม่ได้ปรากฏชัดเจน 

แผนที่

อัลบั้มภาพ